ข้ามไปเนื้อหา

คณะมนตรียุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ที่ประชุมยุโรป
ก่อตั้งค.ศ. 1961 (ไม่เป็นทางการ)
ค.ศ. 2009 (อย่างเป็นทางการ)
ประเภทองค์กรร่วมอียู
ที่ตั้ง
ประธาน
ชาร์ล มีแชล
เว็บไซต์European Council

คณะมนตรียุโรป[1] หรือ ที่ประชุมยุโรป (อังกฤษ: European Council) เป็นเวทีการประชุมที่ประกอบด้วยผู้นำรัฐบาลของแต่ละรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป พร้อมทั้งประธานที่ประชุมยุโรปและประธานคณะกรรมาธิการยุโรป นอกจากนี้ผู้แทนสหภาพฝ่ายต่างประเทศและนโยบายความมั่นคงยังเข้าร่วมประชุมด้วย[2] ที่ประชุมยุโรปมีการประชุมครั้งแรกอย่างไม่เป็นทางการใน ค.ศ. 1975 และมีการจัดตั้งขึ้นเป็นสถาบันของสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 2009 โดยผลของสนธิสัญญาลิสบอน การประชุมที่ประชุมยุโรปจะมีขึ้นอย่างน้อยสองครั้งทุกหกเดือน โดยปกติมักจะมีขึ้นในอาคารยูโรปาในกรุงบรัสเซลส์[3][4][5]

ที่ประชุมยุโรปไม่มีอำนาจที่มีผลตามกฎหมาย แต่มติและผลของที่ประชุมยุโรปนั้นมีอิทธิพลและส่งผลต่อทิศทางการเมือง การบังคับใช้เป็นกฎหมายต้องอาศัยมติคณะกรรมาธิการยุโรป อย่างไรก็ตาม มติหรือข้อสรุปของที่ประชุมยุโรปอาจนำไปสู่การออกกฎหมายต่าง ๆ[6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สหภาพยุโรป / กรอบความร่วมมือพหุภาคี : สหภาพยุโรป (The European Union - EU)". กรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2019.
  2. "Consolidated versions of the Treaty on European Union and the Treaty on the functioning of the European Union" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 22 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2016.
  3. "Council of the European Union". Council of the European Union. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2007.
  4. "Consolidated versions of the treaty on European Union and of the treaty establishing the European Community" (PDF). Europa (web portal). 7 กุมภาพันธ์ 1992. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 1 ธันวาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2007.
  5. "EUROPA – The European Council: Presidency Conclusions". European Commission. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2011.
  6. Art. 13 et seq of the Treaty on European Union
  7. Gilbert, Mark (2003). Surpassing Realism – The Politics of European Integration since 1945 (page 219: Making Sense of Maastricht). Rowman & Littlefield. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2011.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy