ข้ามไปเนื้อหา

อักษรสิทธัม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรสิทธัม
คำว่า สิทฺธํ ในอักษรสิทธัม
ชนิด
ช่วงยุค
ป. ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6[1]ป. ค.ศ. 1200[หมายเหตุ 1]
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดสันสกฤต
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
ระบบพี่น้อง
อักษรศารทา,[2][3][5] อักษรทิเบต[4]
ISO 15924
ISO 15924Sidd (302), ​Siddham, Siddhaṃ, Siddhamātṛkā
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Siddham
ช่วงยูนิโคด
U+11580–U+115FF

Final Accepted Script Proposal

Variant Forms
  1. 1.0 1.1 1.2 ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับ

อักษรสิทธัม (สันสกฤต: सिद्धं สิทธํ หมายถึง ทำให้สำเร็จหรือสมบูรณ์แล้ว, อังกฤษ: Siddham script, ทิเบต: སིད་དྷཾ།; จีน: 悉曇文字; พินอิน: Xītán wénzi; ญี่ปุ่น: 梵字, บนจิ) เป็นชื่ออักษรแบบหนึ่งของอินเดียตอนเหนือ ที่นิยมใช้เขียนภาษาสันสกฤต มีที่มาจากอักษรพราหมี โดยผ่านการพัฒนาจากอักษรคุปตะ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นอักษรเทวนาครีในเวลาต่อมา และเกิดเป็นอักษรอื่นๆ จำนวนมากในเอเชีย เช่น อักษรทิเบต เป็นต้น อักษรสิทธัมเผยแพร่พร้อมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปสู่จีนและญี่ปุ่นตามลำดับ ตั้งแต่ พ.ศ. 1349 โดยคูไก (空海) ผู้เรียนภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธจากจีน ในญี่ปุ่นเรียกอักษรนี้ว่า "บนจิ" เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน ปัจจุบันอักษรสิทธัมยังคงใช้ในการประกอบพิธีกรรมของนิกายชิงงง (真言宗, มนตรยาน) ในประเทศญี่ปุ่น

สระ

[แก้]
รูปสระลอย อักษรสิทธัม เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
รูปสระลอย อักษรสิทธัม เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
𑖀 a 𑖁 อา ā
𑖂 อิ i 𑖃 อี ī
𑖄 อุ u 𑖅 อู ū
𑖊 เอ e 𑖋 ไอ ai
𑖌 โอ o 𑖍 เอา au
𑖀𑖽 อํ aṃ 𑖀𑖾 อะห์ aḥ
รูปสระลอย อักษรสิทธัม เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
รูปสระลอย อักษรสิทธัม เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
𑖆 𑖇 ฤๅ
𑖈 𑖉 ฦๅ
Alternative forms

𑖀𑖲 อา ā

𑗘 อิ i

อิ i

𑗚 อี ī

อี ī

𑗛 อุ u

อู ū

โอ o

เอา au

𑖀𑖼 อํ aṃ

พยัญชนะ

[แก้]
เสียงพยัญชนะหยุด เสียงพยัญชนะเปิด เสียงพยัญชนะเสียดแทรก
อโฆษะ สิถิล อโฆษะ ธนิต โฆษะ สิถิล โฆษะ ธนิต นาสิก
กัณฐชะ 𑖮 ห h
Velar 𑖎 ก k 𑖏 ข kh 𑖐 ค g 𑖑 ฆ gh 𑖒 ง
ตาลุชะ 𑖓 จ c 𑖔 ฉ ch 𑖕 ช j 𑖖 ฌ jh 𑖗 ญ ñ 𑖧 ย y 𑖫 ศ ś
มุทธชะ 𑖘 ฏ 𑖙 ฐ ṭh 𑖚 ฑ 𑖛 ฒ ḍh 𑖜 ณ 𑖨 ร r 𑖬 ษ
ทันตชะ 𑖝 ต t 𑖞 ถ th 𑖟 ท d 𑖠 ธ dh 𑖡 น n 𑖩 ล l 𑖭 ส s
โอฏฐชะ 𑖢 ป p 𑖣 ผ ph 𑖤 พ b 𑖥 ภ bh 𑖦 ม m
ทันโตฏฐชะ 𑖪 ว v
Conjuncts in alphabet
𑖎𑖿𑖬 kṣ 𑖩𑖿𑖩𑖽 llaṃ
Alternative forms

ch

j

ñ


ṭh

ḍh

ḍh



th

th

dh

n

m

ś

ś

v

ระเบียงภาพ

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ยังคงมีผู้ใช้งานเชิงพิธีกรรมในญี่ปุ่นและเกาหลี

อ้างอิง

[แก้]
  1. Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century. Delhi: Pearson. p. 43. ISBN 9788131716779.
  2. 2.0 2.1 https://archive.org/details/epigraphyindianepigraphyrichardsalmonoup_908_D/mode/2up,p39-41 [ลิงก์เสีย]
  3. 3.0 3.1 Malatesha Joshi, R.; McBride, Catherine (11 June 2019). Handbook of Literacy in Akshara Orthography. ISBN 9783030059774.
  4. 4.0 4.1 Daniels, P.T. (January 2008). "Writing systems of major and minor languages". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  5. 5.0 5.1 5.2 Masica, Colin (1993). The Indo-Aryan languages. p. 143.
  6. Handbook of Literacy in Akshara Orthography, R. Malatesha Joshi, Catherine McBride (2019), p. 27.

ข้อมูล

[แก้]
  • Bonji Taikan (梵字大鑑). (Tōkyō: Meicho Fukyūkai, 1983)
  • Chaudhuri, Saroj Kumar (1998). Siddham in China and Japan, Sino-Platonic papers No. 88
  • e-Museum, National Treasures & Important Cultural Properties of National Museums, Japan (2018), "Sanskrit Version of Heart Sutra and Viyaya Dharani", e-Museum, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-22, สืบค้นเมื่อ 2022-10-07
  • Stevens, John. Sacred Calligraphy of the East. (Boston, MA: Shambala, 1995.)
  • Van Gulik, R.H. Siddham: An Essay on the History of Sanskrit Studies in China and Japan (New Delhi, Jayyed Press, 1981).
  • Yamasaki, Taikō. Shingon: Japanese Esoteric Buddhism. (Fresno: Shingon Buddhist International Institute, 1988.)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy