ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดีย:หน่วยเก็บกวาดเฉพาะกิจ/สังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ ๒

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ช่วยกันเก็บกวาด เดี๋ยวเดียวก็เสร็จ

สถานการณ์ปัจจุบัน

[แก้]
100.0%

หลักการและเหตุผล

[แก้]
แนวคิดพื้นฐาน
ไอเดียจากหน้า http://www.wikithaiforum.com/viewtopic.php?f=2&t=33 ลิงก์บน archive.org
เป้าหมาย
เก็บกวาดบทความที่มีปัญหา รวมถึงบทความเก่า ให้ได้มาตรฐานขั้นต่ำในวิกิพีเดียไทย นอกจากนี้ก็แก้ปัญหา ภาพเก่าทำไมไม่มีที่มาได้ และบทความเก่าทำไมไม่มีอ้างอิงได้
หลักการดำเนินงาน
  • ติดไอคอนด้วยแม่แบบ {{รอการตรวจสอบ}} ทุกบทความบนวิกิพีเดียไทยด้วยบอต (เรียบร้อยทั้งหมดแล้ว) อ่านเพิ่ม...
  • ทยอยสังคายนาบทความด้วยการเก็บกวาดตามรายการที่แนะนำในส่วนสิ่งที่ควรจะทำ และนำป้ายรอการตรวจสอบออก ซึ่งสามารถใช้ป้าย สังคายนาในสคริปต์จัดให้เพื่อเริ่มงาน
ระยะเวลา
พ.ศ. 2551-2552 (กำหนดการ)

สิ่งที่ควรจะทำ

[แก้]
  • ชื่อบทความเป็นตัวหนา สำหรับชื่อที่มีวงเล็บภาษาอื่น ก็ทำตัวหนาเฉพาะชื่อภาษาไทย
    • ชื่อที่ไม่จำเป็นต้องระบุภาษาอื่น เช่น แมว (อังกฤษ: cat ; จีน: ; ญี่ปุ่น: ネコ) ให้นำภาษาอื่นออก เหลือเฉพาะภาษาไทย
    • สำหรับชื่อภาษาอื่น ควรระบุภาษา หรือชนิดอักษร โดยใช้ {{Lang-xx}} ในการบอกภาษา เช่น ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Wikipedia) ใช้ ({{Lang-en|Wikipedia}}) แทน ปิดท้ายก่อนขึ้นภาษาใหม่ด้วย เซมิโคลอน
    • ระวังว่าชื่อบางคำไม่ใช่ภาษาอังกฤษ แม้ว่าจะใช้อักษรละติน ที่มีการใช้ในหลายภาษา
    • กรณีภาษาจีน ใช้แม่แบบ {{Zh-all}} เพื่อแสดงอักษรจีนตัวเต็ม ตัวย่อ และพินอินตามลำดับ ในเวลาเดียวกัน
    • ภาษาญี่ปุ่น และเกาหลีใช้แม่แบบ {{ญี่ปุ่น}} และ {{เกาหลี}} ตามลำดับ
    • สำหรับ IPA ให้ครอบวงเล็บเหลี่ยม [...] ในกรณีเป็นเสียงอ่านที่ยังมีการปรับแต่งรายละเอียดตามพื้นเพของภาษา และครอบเครื่องหมายทับ /.../ สำหรับเสียงอ่านที่ไม่ต้องมีการปรับแต่งเพิ่มเติม ตัวอย่างเช่น

ไทใหญ่ หรือ ฉาน (พม่า: ရှမ်းလူမျိုး; IPA: [ʃán lùmjóʊ]; จีน: 掸族; พินอิน: dǎn zú)

'''ไทใหญ่''' หรือ '''ฉาน''' ({{lang-my|ရှမ်းလူမျိုး}}; [[IPA]]: [ʃán lùmjóʊ]; {{zh-all|s=掸族|p=dǎn zú}})
  • ถ้ามีข้อความว่า "ดูบทความหลักที่ ..." ควรเปลี่ยนมาใช้ {{บทความหลัก}}
  • ถ้ามีข้อความว่า "ดูเพิ่มที่..." ควรเปลี่ยนมาใช้ {{ดูเพิ่มที่}}
  • ถ้าส่วนหัวมีข้อความว่า "สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ..." ควรเปลี่ยนมาใช้ {{ความหมายอื่น}}
  • ถ้ามีข้อความว่า "(รอเพิ่มเติมเนื้อหา)" หรือ "(รอเพิ่มเติมข้อมูล)" หรือข้อความอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกัน ที่หัวข้อ ควรเปลี่ยนมาใช้ {{โครงส่วน}}
  • ถ้าชื่อบทความเป็นภาษาอังกฤษ ก็ให้ติดป้าย {{ชื่ออังกฤษ}} ถ้าส่วนหัวของบทความยังไม่มีป้ายดังกล่าว
  • ถ้าชื่อบทความเป็นภาษาอื่น ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ก็ให้ติดป้าย {{ชื่อภาษาอื่น}} ถ้าส่วนหัวของบทความยังไม่มีป้ายดังกล่าว
  • สำหรับบทความเกี่ยวกับภาพยนตร์ หากมีป้าย {{เสียรส}} แต่ยังไม่มีป้าย {{จบเสียรส}} ในส่วนของเนื้อเรื่องย่อ ให้ติดป้าย {{จบเสียรส}}
  • ทุกบทความต้องมีหมวดหมู่ หากไม่มีหมวดหมู่ ให้ใส่หมวดหมู่เพิ่มเติม
  • ทุกบทความต้องมีวิกิลิงก์ หากไม่มีให้ใส่ลิงก์เพิ่มเติม
  • ใช้แม่แบบ {{เรียงลำดับ}} แทนที่เรียงแบบเดิมสำหรับบทความที่มีสระขึ้นหน้า
  • หัวข้อหมายเลข 1. 2. 3. เปลี่ยนไปใช้ # แทน
  • หน้าไหนยาวแล้ว แต่ป้าย {{โครง}} ยังอยู่ก็นำออก
  • ย้าย {{โครง}} ลงไปใต้หมวดหมู่ ให้หมวดหมู่หลักเรียงขึ้นมาก่อน (สคริปต์จัดให้ +บอตคุงมีความสามารถนี้ในเก็บกวาดแล้ว)
  • ถ้าในบทความมีส่วนใดส่วนหนึ่งที่ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือโฆษณา ก็ให้ลบส่วนนั้นออก
  • ภาพลิขสิทธิ์ไม่มีที่มา ถ้าไม่ลบ ก็หาที่มามาใส่
    • โดยใส่กล่อง {{freeimage}} หรือ {{nonfreeimage}} เพิ่ม เพื่อให้หน้าอธิบายภาพมีความหมายมากขึ้น
  • อ้างอิง
    • ใช้ {{รายการอ้างอิง}} แทน <references /> และ {{reflist}} หากไม่มีรายการอ้างอิง (มี bullet point ที่หัวข้ออ้างอิง) ใส่ {{เริ่มอ้างอิง}} บนสุด และ {{จบอ้างอิง}} ล่างสุด (ระวังบางหน้าที่ยังคงต้องใช้ <references /> อยู่ด้วย)
    • ทุกบทความต้องมีอ้างอิง หากไม่มีอ้างอิงหรือแหล่งอ้างอิงไม่เพียงพอให้ใส่ {{ต้องการอ้างอิง}} หากต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วนให้ใส่ {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} หรือ หากเนื้อหาไม่ตรงแหล่งอ้างอิงให้นำแหล่งอ้างอิงนั้นออก
    • ลิงก์อ้างอิงเสีย ใช้เว็บ archive.org ค้นหาและอัปเดตลิงก์ที่ใช้อ้างอิง หากไม่เจอ หรือคิดว่าไม่สำคัญ ให้ลบออก
  • แหล่งข้อมูลอื่น
    • เสีย เว็บปิดตัวลง ให้ลบออก
    • ที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น บทความบุคคล ใส่เว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่เคยเรียน เว็บไซต์โรงเรียนที่เคยเรียน ซึ่งไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวบทความ ให้ลบออก
  • สำหรับการยกคำพูดจากหนังสือ หรือคำปราศรัยจากบุคคลสำคัญให้ใช้ผ่านคำสั่ง {{คำพูด}}
  • ถ้าคิดไม่ออกว่าทำไง ก็ติดป้าย {{เก็บกวาด}} หรือป้ายอื่นตามที่แสดงใน วิกิพีเดีย:ตรวจสอบบทความ แจ้งคนอ่านว่าเรื่องนี้มีปัญหา และแจ้งคนเขียนว่า ช่วยมาเก็บกวาด

ถ้าใครมีไอเดียเพิ่มเติม หรือต้องการช่วยเก็บกวาด สามารถใส่เพิ่มได้ด้านล่าง หรือในเว็บบอร์ด [1] ได้ครับ

นอกจากนี้ในส่วนคำอธิบายอย่างย่อ สามารถทำลิงก์มาที่หน้านี้ได้โดยการใส่

[[WP:CLEAN2|สังคายนาวิกิพีเดียไทย ๒]]

ส่วนหน้าผู้ใช้ ให้ใส่กล่องผู้ใช้

{{User WikiProject Clean2}}

รายชื่อผู้เข้าร่วม

[แก้]
ผู้ใช้คนนี้ร่วมเก็บกวาดบทความ
ตามโครงการสังคายนาวิกิพีเดียครั้งที่ 2

เสนอไอเดียเพิ่มเติม

[แก้]
  • ทำดัชนีรายชื่อ -- อไคอวส์า
  • ทำสัญลักษณ์อะไรสักอย่าง ให้รู้ว่า บทความนี้สังคายนาแล้วนะ ด้วยการเห็นจากหน้าบทความเลย โดยไม่ต้องดูประวัติ จะได้ไม่แก้ซ้ำแก้ซ้อน (เร่งด่วน) ไปอ่านต่อหน้าพูดคุยฮะ -- อไคอวส์า
  • สำหรับชื่อบทความที่มีชื่อในภาษาอื่นวงเล็บอยู่ ควรใช้แม่แบบ {{Lang-xx}} เช่น (อังกฤษ: Wikipedia) ให้ใช้ {{Lang-en|Wikipedia}} แทน -- Portalian
  • ถ้ามีข้อความว่า "ดูบทความหลักที่ ..." ควรเปลี่ยนมาใช้ {{บทความหลัก}} -- Portalian
  • ถ้าส่วนหัวมีข้อความว่า "สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ..." ควรเปลี่ยนมาใช้ {{ความหมายอื่น}} -- Portalian
  • ตำแหน่งของไอคอนแสดงภาษา ควรอยู่หน้าหรือข้างหลังข้อความครับ น่าจะจัดให้เป็นแบบเดียวกันด้วย--Saeng Petchchai 18:58, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
    • ควรจะอยู่หลังครับ ปัจจุบันนี้ เก็บกวาด ในสคริปต์จัดให้ และบอตคุงมีความสามารถนี้อยู่แล้วเฉพาะกรณีอ้างอิง --Jutiphan | พูดคุย - 03:38, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)
  • หัวข้อที่มีหมายเลขลำดับโดยตรง 1. 2. 3. ... ให้เปลี่ยนไปใช้ '#' แทน --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 10:36, 16 มิถุนายน 2551 (ICT)
  • ใช้แม่แบบ {{คำพูด}} กับคำพูดหรือข้อความส่วนหนึ่งที่ยกมาจากที่อื่น เช่นจากบุคคลสำคัญ วรรณกรรม หรือบันเทิงคดี --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 10:41, 16 มิถุนายน 2551 (ICT)
  • แล้วบทความที่สร้างใหม่หลังจากติดป้าย จะมีการติดป้ายอีกไหม หรือติดแค่นี้ก่อนSaeng Petchchai 11:17, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)
    • คิดว่าคงไม่น่ามีครับ เพราะบทความใหม่ ก็จะผ่านการตรวจสอบจากคนทั่วไป ผ่านทางหน้าปรับปรุงล่าสุดครับ ส่วนที่ทำตอนนี้เป็นการตรวจสอบบทความเก่าทั้งหมด --Manop | พูดคุย 11:19, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)
  • ตัวกลมๆมุมขวาบนของแต่ละบทความคือแสดงให้เห็นว่าบทความนั้นยังไม่ได้เก็บกวาดอะไรประมาณนี้รึเปล่าคะ ถ้าอย่างนั้นบทความที่ไม่มีตัวกลมๆ ก็คือเก็บกวาดเรียบร้อยใช่ไหมคะ (ตอนที่ชี้ไปมันจะขึ้นว่า วิกิพีเดีย:หน่วยเก็บกวาดเฉพาะกิจ/สังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ๒) --G012345 11:52, 13 มีนาคม 2552 (ICT)
    • ใช่ครับ ถ้าเก็บกวาดตามรายการข้างบนแล้วก็เอา {{รอการตรวจสอบ}} (รูปกลม ๆ) ออกได้ และนอกจากนี้บทความใหม่จะไม่มีการติดป้ายนี้นะครับ (ดูบทสนทนาด้านบนเพิ่ม) --Chris Vineyard Chat Contribs 11:57, 13 มีนาคม 2552 (ICT)
  • หน้าแก้ความกำกวม ให้แน่ใจว่ามีแม่แบบ {{แก้กำกวม}} ใส่ไว้ตอนท้าย --Octra Dagostino 16:45, 19 มีนาคม 2552 (ICT)
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy