ข้ามไปเนื้อหา

วาทศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วาทศาสตร์ คือศิลปะการจูงใจ รวมถึงไวยากรณ์และตรรกศาสตร์ (หรือวิภาษวิธี) เป็นหนึ่งในไตรศิลปศาสตร์ โดยวาทศาสตร์มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความสามารถของผู้เขียนหรือผู้พูดในการบอก จูงใจ หรือกระตุ้นผู้ฟังในสถานการณ์เฉพาะ[1] แอริสตอเติลนิยามวาทศาสตร์ว่า "เป็นสาขาวิชาแห่งการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อมุ่งสู่การจูงใจ" และนับแต่การเรียนรู้ศิลปะเป็นสิ่งจำเป็นต่อชัยชนะในทางกฎหมาย หรือเป็นช่องทางการนำเสนอที่เชื่อมต่อกัน หรือเพื่อทำให้ผู้พูดมีชื่อเสียงในงานพิธีการพลเมือง เขายังบอกว่า "เป็นการรวมกันของตรรกะวิทยาศาสตร์กับหลักจริยธรรมทางการเมือง"[2]

นับแต่ยุคกรีกโบราณถึงปลายศตวรรษที่ 19 วาทศาสตร์ ถือว่ามีบทบาทที่สำคัญในการศึกษาทางฝั่งตะวันตก ทั้งผู้ฝึกพูดคำปราศรัย ทนายความ นักประวัติศาสตร์ รัฐบุรุษ และนักกวี[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Corbett, E. P. J. (1990). Classical rhetoric for the modern student. New York: Oxford University Press., p. 1.; Young, R. E., Becker, A. L., & Pike, K. L. (1970). Rhetoric: discovery and change. New York,: Harcourt Brace & World. p. 1.
  2. Aristotle's Rhetoric, Book I, Chapter 2, Section 1359 (trans. W. Rhys Roberts)[https://web.archive.org/web/20080916083515/http://www.public.iastate.edu/~honeyl/Rhetoric/rhet1-4.html เก็บถาวร 16 กันยายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน; Aristotle, Rhetoric 1.2.1, "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 เมษายน 2012. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2011.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. See, for instance Parlor, Burkean; Johnstone, Henry W. (1996). "On schiappa versus poulakos". Rhetoric Review. 14: 438–440. doi:10.1080/07350199609389075.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy