ข้ามไปเนื้อหา

พร็อกซิมาคนครึ่งม้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พร็อกซิมาคนครึ่งม้า

ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า
ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000.0      วิษุวัต J2000.0
กลุ่มดาว กลุ่มดาวคนครึ่งม้า
ไรต์แอสเซนชัน 14h 29m 42.9487s[1]
เดคลิเนชัน −62° 40′ 46.141″[1]
ความส่องสว่างปรากฏ (V) 11.05[1]
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมM5.5 Ve[1]
ดัชนีสี U-B1.43[1]
ดัชนีสี B-V1.90[1]
ชนิดดาวแปรแสงดาวเปลว
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)−21.7 ± 1.8 km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: −3775.40[1] mas/yr
Dec.: 769.33[1] mas/yr
พารัลแลกซ์ (π)768.7 ± 0.3 mas
ระยะทาง4.243 ± 0.002 ly
(1.3009 ± 0.0005 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)15.49[2]
รายละเอียด
มวล0.123 ± 0.006[3] M
รัศมี0.145 ± 0.011[3] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)5.20 ± 0.23[3]
กำลังส่องสว่าง (bolometric)0.0017[4] L
อุณหภูมิ3,042 ± 117[3] K
การหมุนตัว83.5 d[5]
อายุ4.85×109[6] ปี
ชื่ออื่น
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น
SIMBADdata

พร็อกซิมาคนครึ่งม้า (อังกฤษ: Proxima Centauri) คือดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคนครึ่งม้าที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะของเราในระยะประมาณ 4.2 ปีแสง ค้นพบโดยโรเบิร์ต อินเนส ผู้อำนวยการหอดูดาวยูเนียนในแอฟริกาใต้เมื่อปี พ.ศ. 2458 ได้ชื่อว่าเป็นดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุดเท่าที่รู้จักกันในปัจจุบัน พร็อกซิมาคนครึ่งม้าอยู่ห่างจากระบบดาวคู่แอลฟาคนครึ่งม้า ซึ่งสว่างกว่าและเป็นดาวที่อยู่ห่างจากโลกเป็นอันดับ 2 และ 3 ประมาณ 0.237 ± 0.011 ปีแสง มีความเป็นไปได้ที่พร็อกซิมาคนครึ่งม้าจะเป็นส่วนหนึ่งในระบบดาวสามดวงร่วมกับแอลฟาคนครึ่งม้า เอ และแอลฟาคนครึ่งม้า บี

ต้นกำเนิดชื่อ

[แก้]

พร็อกซิมา (ละติน: proxima) แปลว่าใกล้ที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับระยะห่างระหว่างดาวดวงนี้กับเรา

ขนาด

[แก้]
ภาพ ๆ นี้แสดงถึงขนาดของดาวต่าง ๆ (จากซ้ายไปขวา) : ดวงอาทิตย์ แอลฟาคนครึ่งม้า เอ แอลฟาคนครึ่งม้า บี และพร็อกซิมาคนครึ่งม้า

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 "SIMBAD query result: V* V645 Cen -- Flare Star". Centre de Données astronomiques de Strasbourg. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.—some of the data is located under "Measurements".
  2. Kamper, K. W.; Wesselink, A. J. (1978). "Alpha and Proxima Centauri". Astronomical Journal. 83: 1653–1659. doi:10.1086/112378. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Ségransan, D.; Kervella, P.; Forveille, T.; Queloz, D. (2003). "First radius measurements of very low mass stars with the VLTI". Astronomy and Astrophysics. 397: L5–L8. doi:10.1051/0004-6361:20021714. สืบค้นเมื่อ 2008-08-07.
  4. See Table 1, Doyle, J. G.; Butler, C. J. (1990). "Optical and infrared photometry of dwarf M and K stars". Astronomy and Astrophysics. 235: 335–339. Bibcode:1990A&A...235..335D. and p. 57, Peebles, P. J. E. (1993). Principles of Physical Cosmology. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. ISBN 0691019339.
  5. Benedict, G. Fritz; และคณะ (1998). "Photometry of Proxima Centauri and Barnard's Star Using Hubble Space Telescope Fine Guidance Sensor 3: A Search for Periodic Variations". The Astronomical Journal. 116 (1): 429–439. doi:10.1086/300420. สืบค้นเมื่อ 2007-07-09.
  6. Kervella, Pierre; Thevenin, Frederic (2003-03-15). "A Family Portrait of the Alpha Centauri System: VLT Interferometer Studies the Nearest Stars". ESO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-16. สืบค้นเมื่อ 2007-07-09.{{cite news}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy